สินเชื่อบ้าน

เลือกจำนวนเงินโดบประมาณและระยะของเงินกู้

บาท

เดือน

วิธีบริษัทโอนเงิน

ขอสมัครทันที

ขอสินเชื่อบ้านแลกเงินแลกง่ายรับวงเงินสูงสุด 10 ล้านผ่อนนาน 15 ปี!
กำหนดเงินเดือน
เงินเดือน 1500 บาทขึ้นไป
วงเงินบัตร
สูงสุด 10 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกินย 5.57-6.57% ต่อปี
ระยะเวลา
ระยะ 15 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20-60 ปี
ขอสินเชื่อ ธกส สร้างบ้านเพียงมีรายได้ประจำก็สามารถกู้ได้
กำหนดเงินเดือน
ไม่กำหนดรายได้
วงเงินบัตร
สูงสุด 3 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่ระบุ
ระยะเวลา
ระยะ 15 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20 ปีขึ้นไป
ขอธนาคารออมสินสินเชื่อบ้านหลังแรกให้กู้สูงสุดรับเงิน 10 ล้านบาท!
กำหนดเงินเดือน
ไม่กำหนดรายได้
วงเงินบัตร
สูงสุด10 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกิน 14% ต่อปี
ระยะเวลา
ระยะ 30-40 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20-65 ปี
ขอสินเชื่อบ้านธนาคารกรุงเทพขอวงเงินง่ายดอกเบี้ยถูกมาก
กำหนดเงินเดือน
ไม่กำหนดรายได้
วงเงินบัตร
สูงสุด 1-5 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกิน 4.7-4.72% ต่อปี
ระยะเวลา
ระยะ 30-35 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20 ปีขึ้นไป
ขอ ธอส สินเชื่อบ้าน 2567 อนุมัติง่ายอายุ 20 ก็กู้ได้
กำหนดเงินเดือน
เงินเดือน 25000 บาทขึ้นไป
วงเงินบัตร
สูงสุด 2 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกิน 5.875-13.5% ต่อปี
ระยะเวลา
ระยะ 6-40 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20 ปีขึ้นไป
ขอสินเชื่อบ้านกรุงไทยให้วงเงินซื้อบ้านมากสุด 8 ล้านบาท
กำหนดเงินเดือน
ไม่กำหนดรายได้
วงเงินบัตร
สูงสุด 8 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกิน MMR 6.50% ต่อปี
ระยะเวลา
ไม่เกิน 15 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20-65 ปี
ขอสินเชื่อบ้านออมสินปล่อยให้กู้นานสูงสุด 40 ปี
กำหนดเงินเดือน
ไม่กำหนดรายได้
วงเงินบัตร
สูงสุด 10 ล้านบาท
ร้อยละ
ไม่เกิน 14% ต่อปี
ระยะเวลา
ระยะ 30-40 ปี
อายุของผู้กู้
อายุ 20-65 ปี

ก่อนขอสินเชื่อบ้านต้องรู้อะไรบ้าง ปี 2024

เมื่อเริ่มจะคิดซื้อบ้านหรือที่อยู่อาศัยอย่างบ้านหลังแรก เราก็ควรจะต้องมีการวางแผนในด้านการเงินให้รอบคอบที่สุด เพราะราคาของที่อยู่อาศัยอย่างบ้านหรือคอนโดแต่ละหลังนั้นมีราคาที่สูงมาก หากวางแผนทางการเงินไม่รอบคอบ ย่อมทำให้เกิดความเสี่ยงได้ง่าย อาจจะทำให้การใช้เงินในชีวิตประจำวันได้รับผลกระทบไปด้วย แน่นอนว่าส่วนใหญ่ในการซื้อบ้านหรือคอนโดย่อมต้องมีการยื่นกู้ธนาคารเกิดขึ้น ซึ่งการผ่อนชำระนั้นอาจจะกินเวลายาวนาน 20-30 ปี เลยก็เป็นได้ ดังนั้น ในการเลือกสินเชื่อสร้างบ้านย่อมต้องตัดสินใจอย่างรอบคอบที่สุด 

หลายคนที่อยากมีบ้าน คอนโด หรือที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นจากตรงไหนดี ไม่รู้จะมีวิธีขอสินเชื่อให้ผ่าน อย่างไงดี วันนี้เรามีข่าวดีสำหรับคนที่เตรียมตัวจะซื้อบ้านมาฝากกัน โดยตั้งแต่ปี 2563 มาจนถึงปี 2567 นี้อัตราดอกเบี้ยของธนาคารต่าง ๆ ทุก ๆ ธนาคารได้มีการปรับลดลงมาเรื่อย ๆ จนอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำมาก ๆ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เป็นผลกระทบหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการระบาดของโรคโควิด 19 ที่ทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบกันไปหมด จึงทำให้ดอกเบี้ยในการกู้สินเชื่อบ้านทั้งในส่วนของ ค่า MRR MOR และ MLR จึงได้ปรับลดลงตามไปด้วย ในปีนี้จึงถือได้ว่าเป็นโอกาสทองสำหรับผู้ที่อยากได้บ้านมือหนึ่งที่คิดจะกู้สินเชื่อบ้านจะได้ใช้อากาสนี้ให้คุ้มค่า แต่ก่อนที่เราจะไปดูว่าสินเชื่อสร้างบ้าน/สินเชื่อบ้าน มีตัวไหนที่น่าสนใจ เรามาดูกันก่อนว่าดอกเบี้ยบ้านที่เรียกว่า MRR MOR และ MLR คืออะไร

MRR MOR และ MLR คืออะไร

แน่นอนว่าก่อนที่ทุกคนจะซื้อบ้าน สิ่งสำคัญที่เราจะต้องทำความเข้าใจก็คือเรื่องของอัตราดอกเบี้ยนั่นเอง คนที่วางแผนกำลังจะขอสินเชื่อบ้านหรือการขอยืนกู้  อยากให้ผู้นั้นศึกษาให้ดีไม่ว่าจะเป็นหนังสือสัญญากู้ยืม หรืออัตราดอกเบี้ย อาจจะเคยได้ยินคำว่า MRR MOR และ MLR กันมาบ้างแล้วแต่ก็อาจจะยังไม่เข้าใจมากนัก วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับดอกเบี้ยบ้านแบบต่าง ๆ กัน

โดยปกติเมื่อมีการขอสินเชื่อบ้าน ทางธนาคารจะมีการคิดอัตราดอกเบี้ยสำหรับที่อยู่อาศัยแบ่งเป็นสองแบบคือ

  1. ดอกเบี้ยเงินกู้แบบคงที่ (Fixed Rate) คือ อัตราดอกเบี้ยที่ได้กำหนดไว้โดยจะคิดในอัตราที่คงที่ไปตลอดอายุสัญญา
  2. ดอกเบี้ยเงินกู้แบบลอยตัว (Floating Rate) คือ อัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดสัญญาโดยจะเป็นไปตามที่สถาบันการเงินได้กำหนดไว้ในแต่ละช่วงเวลาซึ่งจะอิงตามค่า MRR ,MOR และ MLR ในแต่ละช่วงเวลา

MRR (Minimum Retail Rate) เป็นอัตราดอกเบี้ยที่มีการเรียกเก็บจากลูกค้ารายย่อยชั้นดี เช่น สินเชื่อที่อยู่อาศัย

MOR (Minimum Overdraft Rate) เป็นอัตราดอกเบี้ยที่มีการเรียกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีประเภทวงเงินเบิกเกินบัญชี

MLR (Minimum Loan Rate) เป็นอัตราดอกเบี้ยที่มีการเรียกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (ประวัติการชำระเงินดี/มีหลักทรัพย์ค้ำประกันซึ่งจะใช้กับเงินกู้ระยะยาวที่กำหนดระยะเวลาแน่นอน) 

สินเชื่อบ้านธนาคารไหนดีสุด

โดยส่วนใหญ่การขอสมัครสินเชื่อบุคคลหรือสินเชื่อบ้าน ในช่วง 1-3 ปีแรกนั้น ธนาคารโดยส่วนใหญ่มักจะคิดอัตราดอกเบี้ยเป็นแบบดอกเบี้ยเงินกู้แบบคงที่ (Fixed Rate) เมื่อเกินจากระยะเวลา 3 ปี ก็จะเริ่มคิดอัตราดอกเบี้ยเป็นแบบดอกเบี้ยเงินกู้แบบลอยตัว (Floating Rate) ตามค่า MRR, MLR และ MOR ตามแต่ละธนาคารได้กำหนดไว้ในแต่ละช่วงเวลานั้น ๆ ซึ่งแต่ละธนาคารก็จะไม่เท่ากัน วันนี้เราได้รวบรวมสินเชื่อบ้านตัวที่น่าสนใจมาให้ลองพิจารณาเลือกกัน แต่ละตัวจะมีรายละเอียดอย่างไรบ้างมาดูกันเลย

  • สินเชื่อบ้านธนาคาร ธอส ในโครงการบ้านคนละหลัง

อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำมากโดยเฉลี่ย 3 ปีแรก 2.75 % มีค่า MRR 6.15 % ต่อปี กู้ได้นานสูงสุด 40 ปี และกู้ได้สูงสุดไม่เกิน 2,000,000 บาท

  • สินเชื่อบ้านธนาคารออมสิน

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยช่วง 3 แรก 2.68 % มีค่า MRR 6.245 % ต่อปี กู้ได้นานสูงสุด 40 ปี ซึ่งจะกู้เงินไปปลูกสร้างบ้านหรือจะกู้ซื้อบ้านใหม่ก็ได้เช่นกัน

  • สินเชื่อบ้านธนาคารกรุงไทย

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 3 ปีแรก 2.73 % มีค่า MRR 6.22 % ต่อปี และมีจุดเด่นที่อัตราดอกเบี้ยปีแรกเพียง 0.64 % และกู้ได้นานสูงสุด 30 ปี 

  • สินเชื่อบ้านธนาคารกสิกรไทย

สามารถกู้เพื่อซื้อบ้านหลังใหม่หรือบ้านมือสองหรือใช้ปลูกสร้างบ้านก็ได้ มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 3 ปีแรก 5.2 % มีค่า MRR 5.97 % ต่อปี ระยะเวลากู้สูงสุด 30 ปี วงเงินสูงสุดที่ให้กู้ 90 %

อย่างไรก็ตามธนาคารต่าง ๆ มีผลิตภัณฑ์สินเชื่อออกมามากมาย ทั้งสินเชื่อบ้านหลังแรกและสินเชื่อบ้าน มือสอง การจะเลือกผลิตภัณฑ์สินเชื่อตัวไหนจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษารายละเอียดทั้งอัตราดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม สัญญาและเงื่อนไขต่าง ๆ ระหว่างการทำธุรกรรมให้ชัดเจนเสียก่อน

การเตรียมเอกสารสำหรับขอสินเชื่อบ้าน/สินเชื่อบ้าน มือสอง

สิ่งที่ควรเตรียมตัวให้พร้อมก่อนกู้บ้านคงจะหนีไม่พ้นเอกสารประจำตัวอย่างเช่น สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน ใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล ทะเบียนสมรส ในส่วนที่สองที่มีความสำคัญไม่แพ้กันคือเอกสารที่แสดงรายได้ หากเป็นพนักงานบริษัทก็จะมีในส่วนของเอกสารรับรองรายได้ สลิปเงินเดือน Statement แต่หากเป็นฟรีแลนซ์ก็จะต้องมีหลักฐานแสดงรายได้ อย่างเช่นว่าเราเป็นฟรีแลนซ์ทางด้านไหน มีประวัติการทำงานอะไรบ้าง และรายได้ที่ผ่านมาเป็นอย่างไร หรืออาจจะมีการแนบสัญญาการติดต่อระหว่างบริษัท หรืออาจจะมีหนังสือรับรองอย่างชัดเจนว่าได้มีการทำงานให้บริษัทนี้จริงๆ ในฐานะฟรีแลนซ์ซึ่งจะมีเรื่องของเปอร์เซ็นต์การจ่ายรายได้หรือ statement แนบมาให้ด้วย เป็นต้น หรือหากว่าใครเป็นเจ้าของธุรกิจก็จะต้องมีหลักฐานยืนยันธุรกิจ อย่างเช่น สัญญาเช่าร้านนานเกินกว่า 3 ปี และในส่วนสุดท้ายคือเอกสารแสดงทรัพย์สิน อย่างเช่น พวกเงินออมในบัญชี (เพื่อดูวินัยในการใช้เงินของผู้กู้) ,ตั๋วทอง เป็นต้น